วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551
แบบทดสอบเรื่อง HTML
ก. Hyper Text Markup Language
ข. Hyper Text Makeup Language
ค. Hypermedia Text Markup Language
ง. Hidden Text Markup Language
2.เอกสาร HTML ปกติจะมีนามสกุลตามข้อใด
ก. HTM
ข. HTML
ค. THML
ง. ก และ ข ถูก
3.โปรแกรมใดที่ใช้สร้างเอกสาร HTML ไม่ได้
ก. Edit Plus
ข. Notepad
ค. Microsoft word
ง. Photoshop
4.เอกสารHTML ที่จะใช้ในการแสดงหน้าเว็บเพจต่างๆจะเก็บไว้ที่ใด
ก. Internet
ข. Client
ค. Server
ง. Browser
5.โปรแกรมที่ใช้สำหรับดูหน้าเว็บเพจคือโปรแกรมอะไร
ก. Internet
ข. Browser
ค. Homepage
ง. Interpreter
6.การสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอลชนิดใด
ก. FTP
ข. WWW
ค. Telnet
ง. HTTP
7.Internet Explorer , Netscape Communicator เป็นโปรแกรมชนิดใด
ก. Internet
ข. IRC
ค. Browser
ง. Text Editor
8.ภาษา HTML แบ่งโครงสร้างออกเป็นกี่ส่วน
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
9.การเขียนข้อความเพื่อให้ปรากฏบนไตเติ้ลบาร์ของโปรแกรมเว็บเบราเซอร์จะต้องเขียนไว้ส่วนใด
ก. ส่วนหัว
ข. ส่วนเนื้อหา
ค. ส่วนกำหนดชนิดข้อมูล
ง. ส่วนหมายเหตุ
10. เนื้อหาที่ต้องการแสดงเว็บเพจจะต้องเขียนไว้ที่ส่วนใด
ก. ส่วนหัว
ข. ส่วนเนื้อหา
ค. ส่วนข้อกำหนด
ง. ส่วนหมายเหตุ
11. คำสั่งที่ใช้แทรกไฟล์ HTML หรือไฟล์อื่นๆลงในไฟล์ HTML อีกไฟล์คือคำสั่งอะไร
ก NOFRAME
ข FRAME
ค FRAMESET
ง IFRAME
12.ข้อใดไม่ใช่คำสั่งหลักในการสร้างเฟรม
ก FRAMESET
ข NOFRAME
ค FRAME
ง FRAME SIZE
13 คำสั่ง FRAMESET มีอยู่กี่ประเภท
ก 2 ประเภท
ข 3 ประเภท
ค 4 ประเภท
ง 5 ประเภท
14. คำสั่งที่ใช้ในการกำหนดสีของ Background คือคำสั่งใด :
ก FONT COLOR
ข BGCOLOR
ค TEXTCOLOR
ง FONT SIZE
15.ข้อใดเป็นคำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ :
ก H1
ข HR
ค CENTER
ง BR
เฉลย
1.ก 2.ง 3.ค 4.ค 5.ข 6.ง 7.ข 8.ข 9.ก 10.ข 11.ง 12ง 13.ก 14.ก 15.ข
วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551
ภาษา HTML
HTML หรือ HyperText Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวกำกับ (Tag) ควบคุมการแสดงผลข้อความ, รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยายที่เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผล ของเว็บได้ด้วย
HTML เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C) จากแม่แบบของภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) โดยตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย และด้วยประเด็นดังกล่าว ทำให้บริการ WWW เติบโตขยายตัวอย่างกว้างขวางตามไปด้วย
Tag
Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือการลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket ( < ) และ greater-than bracket ( > ) โดยที่ Tag HTML แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
• Tag เดี่ยว
เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น
,
เป็นต้น
• Tag เปิด/ปิด
เป็น Tag ที่ประกอบด้วย Tag เปิด และ Tag ปิด โดย Tag ปิด จะมีเครื่องหมาย slash
( / ) นำหน้าคำสั่งใน Tag นั้นๆ เช่น …, เป็นต้น
Attributes
Attributes เป็นส่วนขยายความสามารถของ Tag จะต้องใส่ภายในเครื่องหมาย < > ในส่วน Tag เปิดเท่านั้น Tag คำสั่ง HTML แต่ละคำสั่ง จะมี Attribute แตกต่างกันไป และมีจำนวนไม่เท่ากัน การระบุ Attribute มากกว่า 1 Attribute ให้ใช้ช่องว่างเป็นตัวคั่น
เช่น Attributes ของ Tag เกี่ยวกับการจัดพารากราฟ คือ
ประกอบด้วยALIGN="Left/Right/Center/Justify"
ซึ่งสามารถเขียนได้ดังนี้
โครงสร้างเอกสาร HTML
ไฟล์เอกสาร HTML ประกอบด้วยส่วนประกอบสองส่วนคือ Head กับ Body โดยสามารถเปรียบเทียบได้ง่ายๆ ก็คือ ส่วน Head จะคล้ายกับส่วนที่เป็น Header ของหน้าเอกสารทั่วไป หรือบรรทัด Title ของหน้าต่างการทำงานในระบบ Windows สำหรับส่วน Body จะเป็นส่วนเนื้อหาของเอกสารนั้นๆ โดยทั้งสองส่วนจะอยู่ภายใน Tag …
โครงสร้างไฟล์ HTML
ส่วนหัวเรื่องเอกสารเว็บ (Head Section)
Head Section เป็นส่วนที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลเฉพาะของหน้าเว็บนั้นๆ เช่น ชื่อเรื่องของหน้าเว็บ (Title), ชื่อผู้จัดทำเว็บ (Author), คีย์เวิร์ดสำหรับการค้นหา (Keyword) โดยมี Tag สำคัญ คือ
• ข้อความที่ใช้เป็น TITLE ไม่ควรพิมพ์เกิน 64 ตัวอักษร, ไม่ต้องใส่ลักษณะพิเศษ เช่น ตัวหนา, เอียง หรือสี และควรใช้เฉพาะภาษาอังกฤษที่มีความหมายครอบคลุมถึงเนื้อหาของเอกสารเว็บ หรือมีลักษณะเป็นคำสำคัญในการค้นหา (Keyword)
• การแสดงผลจาก Tag TITLE บนเบราเซอร์จะปรากฏข้อความที่กำกับด้วย Tag TITLE ในส่วนบนสุดของกรอบหน้าต่าง (ใน Title Bar ของ Window นั่นเอง)
• Tag META จะไม่ปรากฏผลบนเบราเซอร์ แต่จะเป็นส่วนสำคัญ ในการทำคลังบัญชีเว็บ สำหรับผู้ให้บริการสืบค้นเว็บ (Search Engine) และค่าอื่นๆ ของการแปลความหมาย
• การพิมพ์ชุดคำสั่ง HTML สามารถพิมพ์ได้ทั้งตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ หรือผสม การย่อหน้า เว้นบรรทัด หรือช่องว่าง สามารถกระทำได้อิสระ โปรแกรมเบราเซอร์จะไม่สนใจเกี่ยวกับระยะเว้นบรรทัดหรือย่อหน้า หรือช่องว่าง
ส่วนเนื้อหาเอกสารเว็บ (Body Section)
Body Section เป็นส่วนเนื้อหาหลักของหน้าเว็บ ซึ่งการแสดงผลจะต้องใช้ Tag จำนวนมาก ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล เช่น ข้อความ, รูปภาพ, เสียง, วีดิโอ หรือไฟล์ต่างๆ
ส่วนเนื้อหาเอกสารเว็บ เป็นส่วนการทำงานหลักของหน้าเว็บ ประกอบด้วย Tag มากมายตามลักษณะของข้อมูล ที่ต้องการนำเสนอ การป้อนคำสั่งในส่วนนี้ ไม่มีข้อจำกัดสามารถป้อนติดกัน หรือ 1 บรรทัดต่อ 1 คำสั่งก็ได้ แต่มักจะยึดรูปแบบที่อ่านง่าย คือ การทำย่อหน้าในชุดคำสั่งที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งนี้ให้ป้อนคำสั่งทั้งหมดภายใต้ Tag
• กลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการจัดการพารากราฟ
• กลุ่มคำสั่งจัดแต่ง/ควบคุมรูปแบบตัวอักษร
• กลุ่มคำสั่งการทำเอกสารแบบรายการ (List)
• กลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการทำลิงค์
• กลุ่มคำสั่งจัดการรูปภาพ
• กลุ่มคำสั่งจัดการตาราง (Table)
• กลุ่มคำสั่งควบคุมเฟรม
• กลุ่มคำสั่เริ่มสร้างเว็บเพจด้วย NotePad
การสร้างเอกสาร HTML หรือเว็บเพจ เป็นเรื่องที่ง่ายและสะดวก เพียงแต่เปิดโปรแกรม NotePad
คำสั่งในการเริ่มต้นในการสร้างเว็บเพจ
คำสั่งเริ่มต้น
..........
คำสั่ง เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมและคำสั่ง เป็นการสิ้นสุดโปรแกรม HTML คำสั่งนี้จะไม่แสดงผลในโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ แต่ต้องเขียนเพื่อให้เกิดความเป็นระบบของงาน และเพื่อจะให้รู้ว่าเอกสารนี้เป็นเอกสารของภาษา HTML
ส่วนหัวของโปรแกรม
..........
คำสั่ง เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดข้อความในส่วนที่เป็นชื่อเรื่องของไฟล์ HTML และภายในคำสั่ง ... จะมีคำสั่งย่อยอีกคำสั่งหนึ่งคือ
กำหนดข้อความในส่วนหัวของโปรแกรมหรือไตเติลบาร์
คำสั่ง
ส่วนเนื้อหาของโปรแกรม
คำสั่งนี้เป็นส่วนที่สำคัญในการแสดงผลในเว็บเบราเซอร์ ซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวอักษร รูปภาพกราฟิกต่างๆp
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
เทคนิคการใช้งานMicrosoft Excel
1. เทคนิคการป้อนข้อมูลเดียวกันลงในหลายๆ เซลล์ในครั้งเดียว
1. เลือกเซลล์ที่เราต้องการป้อนข้อมูล
2. เซลล์นั้นอาจเป็นเซลล์ที่ต่อเนื่องกันหรือไม่ต่อเนื่องกันก็ได้ พิมพ์ข้อมูลและกดแป้น CTRL+ENTER
2. เทคนิคเกี่ยวกับการจัดรูปแบบแผ่นงาน
ใช้เราลักษณะการจัดรูปแบบเหล่านี้ เพื่อแสดงข้อมูลของเราอย่างมีประสิทธิภาพ จัดรูปแบบข้อความ และอักขระแต่ละตัว ในการทำให้ข้อความดูสะดุดตา เราสามารถจัดรูปแบบให้กับข้อความทั้งหมดในเซลล์ หรือเฉพาะอักขระบางตัวก็ได้ โดยให้เลือกอักขระที่ต้องการจัดรูปแบบ แล้วคลิกปุ่มบนแถบเครื่องมือ จัดรูปแบบ
หมุนข้อความ และเส้นขอบ ข้อมูลในคอลัมน์มักจะแคบมากๆ ขณะที่ป้ายชื่อคอลัมน์จะกว้างกว่ามาก แทนที่จะสร้างคอลัมน์กว้างๆ หรือย่อป้ายชื่อคอลัมน์โดยไม่จำเป็น เราก็อาจใช้วิธีหมุนข้อความ และใส่เส้นขอบที่จะหมุนไปด้วยมุมเดียวกับข้อความ
เพิ่มเส้นขอบ สี และลวดลาย เพื่อแยกความแตกต่างของข้อมูลแต่ละชนิดบนแผ่นงาน เราสามารถใส่เส้นขอบให้กับเซลล์ แรเงาเซลล์ด้วยสีพื้นหลัง หรือแรเงาเซลล์ด้วยลวดลายแบบมีสี
3. เทคนิคการเคลื่อนที่ภายในสมุดงาน
การย้ายและเลื่อนขึ้นลงในแผ่นงาน
เมื่อต้องการย้ายไปมาระหว่างเซลล์บนแผ่นงาน ให้คลิกเซลล์ใดๆ หรือใช้แป้นลูกศร เมื่อเราย้ายไปที่เซลล์ เซลล์ก็จะกลายเป็น เซลล์ที่ใช้งานอยู่ เมื่อต้องการดูพื้นที่ต่างๆ ของแผ่นงาน ให้ใช้ แถบเลื่อน
เมื่อต้องการเลื่อน
ให้ทำดังนี้
แถวขึ้นหรือลงหนึ่งแถว
คลิกลูกศรในแถบเลื่อนแนวตั้ง
คอลัมน์ไปทางซ้ายหรือขวาหนึ่งคอลัมน์
คลิกลูกศรในแถบเลื่อนแนวนอน
หน้าต่างขึ้นหรือลงหนึ่งหน้าต่าง
คลิกบนหรือล่างของกล่องเลื่อนในแถบเลื่อนแนวตั้ง
หน้าต่างไปทางซ้ายหรือขวาหนึ่งหน้าต่าง
คลิกไปทางซ้ายหรือขวาของกล่องเลื่อนในแถบเลื่อนแนวนอน
ระยะไกล
ลากกล่องเลื่อนไปยังตำแหน่งที่สอดคล้องโดยประมาณ ในแผ่นงานที่มีขนาดใหญ่มากๆ ให้กดแป้น SHIFT ค้างไว้ขณะลาก
การสลับไปยังแผ่นงานอื่นๆ ในสมุดงาน
1. คลิกที่แท็บแผ่นงานสำหรับแผ่นอื่น
2. ถ้าเราไม่เห็นแท็บที่ต้องการ ให้คลิกที่ปุ่มเลื่อนแท็บ เพื่อแสดงแท็บที่ต้องการ แล้วให้คลิกที่แท็บนั้น
คำแนะนำ ถ้าสมุดงานของเราประกอบด้วยหลายแผ่นงาน คลิกขวาที่ปุ่มเลื่อนแท็บ และคลิกที่แผ่นงานที่เราต้องการ
4. เทคนิคการเปลี่ยนพื้นหลังของแผ่นงาน
ารเปลี่ยนพื้นหลังของแผ่นงาน การเปลี่ยนพื้นหลังของแผ่นงาน นั้น เป็นการเสริมภาพต่าง ๆ ลงไป ดังนั้น ผู้ใช้ต้องเตรียมภาพ สำหรับวางพื้นหลัง .ขั้นตอนคำสั่ง 1. คลิกเมนู รูปแบบ > แผ่นข้อมูล > พื้นหลังจากนั้นจะปรากฎกรอบ พื้นหลังแผ่นงาน ..ให้เลือกภาพที่ต้องการ จากคลิกปุ่ม เปิด
5. เทคนิคการคำนวณ ต่าง Work Sheet
ในการคำนวณต่าง Work Sheet จะมีลักษณะที่ต่างจากการคำนวณภายใน Work Sheet อยู่ส่วนหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ
เมื่อต้องการอ้างข้อมูลที่อยู่ใน Work Sheet ไหน ก็จะต้องมีการอ้างถึงชื่อ Work Sheet ที่จะนำข้อมูลมาคำนวณ โดยจะมีรูปแบบในการอ้าง Work Sheet ดังนี้
ชื่อ Work Sheet ที่อ้างถึง ! Range ของข้อมูลใน Sheet ที่อ้างถึงเพื่อนำมาคำนวณ
** สังเกตว่า หลังจากชื่อ Work Sheet แล้วจะต้องมีเครื่องหมาย ! อยูหลังชื่อ Work Sheet เสมอแล้วหลังเครื่องหมาย ! ก็จะเป็นการอ้างถึงข้อมูลภายใน Work Sheet นั้นตามปกติ
ตัวอย่าง ต้องการคำนวนโดยหาผลรวมของข้อมูลช่วง A1 ถึง B10 ใน Work Sheet ชื่อ Sheet1 โดยให้แสดง
ผลลัพธ์ ใน Work Sheet ชื่อ Sheet3 ที่เซลล์ A1 จะสามารถป้อนสูตรในเซลล์ A1 ใน Sheet3 ได้ดังนี้
1. คลิกเมาส์ที่ชื่อ Sheet3 ให้ Active
2. คลิกที่เซลล์ A1 ของ Sheet3 เพื่อป้อนสูตร โดยพิมพ์สูตร = SUM(Sheet1!A1:B10)
3. กดปุ่ม enter เพื่อจบการป้อนสูตร ก็จะได้ผลลัพธ์แสดงที่ช่อง A1 ของ Sheet3 6. เทคนิคการสร้างกราฟ (Chart) ใน Ms Excel
a. สิ่งที่ต้องพิจารณาก่อนการสร้างกราฟ
ในการสร้างกราฟใน Excel สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา คือ ข้อมูลที่จะนำมาสร้างกราฟ ,ลักษณะข้อมูลที่จะนำมาสร้างกราฟ และชนิดของกราฟที่ต้องการนำเสนอ
b. เมื่อเลือกคำสั่ง chart สิ่งที่ต้องรู้จัก และขั้นตอน 4 ขั้นตอน
การสร้างกราฟ ทำดังนี้
1. ให้ดำเนินการเลือกกลุ่มข้อมูลจะนำมาสร้างกราฟโดยทำแถบสี (Highlight)
2. คลิกแถบเมนู insert -> chart หรือคลิกที่แถบเครื่องมือ สัญลักษณ์ จะปรากฎเป็นตัวช่วยในการสร้างกราฟเข้าสู่ขั้นตอนที่ 1 Chart Type ให้คลิกเลือกรูปแบบของกราฟมาตรฐาน (Standard Types) ที่ผู้ใช้ต้องการในส่วนของ Chat type เช่น ต้องการสร้างกราฟเชิงเส้น (line) แล้วด้านขวามือ เป็นการเลือกรูปแบบย่อยของกราฟแท่งที่ต้องการ (Chart sub-type) เพื่อให้เหมาะกับที่ต้องการนำเสนอ เช่น ต้องกราฟเชิงเส้นที่มีการกำหนดจุดของค่าบนกราฟด้วย
ในขั้นตอนที่ 1 นี้จะมีปุ่ม Press and Hold to View Sample เพื่อให้ผู้ใช้ดูลักษณะของกราฟที่เลือกเพื่อตัดสินใจที่จะทำขั้นตอนต่อไป โดยผู้ใช้ต้องคลิกปุ่มนี้ค้างไว้ กราฟตัวอย่างจึงจะปรากฎขึ้น เมื่อปล่อยคลิก กราฟตัวอย่างก็จะเปลี่ยนเป็น Chart sub-type ตามเดิม คลิกปุ่ม Next > เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนที่ 2 Chart Source Data
ในขั้นตอนที่ 2 นี้จะให้ผู้ใช้เลือกข้อมูลที่จะนำมาสร้างกราฟซึ่ง ได้กำหนดช่วงของข้อมูล (Data range) ตั้งแต่แรกก่อนที่จะสร้างกราฟแล้ว จึงทำให้ ช่อง Data range : ปรากฎเป็นช่วงของข้อมูลให้เห็น แต่ถ้าผู้ใช้ไม่ได้กำหนดช่วงของข้อมูลมาก่อนการสร้างกราฟ ก็สามารถระบุช่วงของข้อมูลได้ในขั้นตอนนี้ ด้วยการพิมพ์ช่วงข้อมูลในช่อง Data range หรือใช้เมาส์ลากกำหนดขอบเขตของข้อมูลก็ได้
ในส่วนของ Series in นั้น เป็นตัวเลือกที่ให้ผู้ใช้ระบุถึงลักษณะข้อมูลที่ต้องการให้แกน X นำเสนอโดยใช้ค่าใด เช่น Series in Rows -> ให้ Row แรกของกลุ่มข้อมูล เป็นข้อมูลแกน X
Series in Column -> ให้ Columns แรกของกลุ่มข้อมูล เป็นข้อมูลแกน X
สังเกตว่าเลือก Series in Rows ได้กราฟที่แกน X แสดงข้อมูลเป็นวัน ให้เห็น
หากผู้ใช้ต้องการนำ Series เพิ่มเข้ามา หรือนำออก ต้องคลิกเลือกที่เมนูย่อย Series ซึ่งจะทำหน้าที่ในการจัดการเกียวกับการกำหนด Series ของข้อมูล
ในส่วนของเมนูย่อย Series นี้จะมีช่องที่ให้ผู้ใช้กำหนดค่า ดังนี้
Name แสดงตำแหน่งเก็บชื่อ Series ใน Work Sheet สามารถเปลี่ยนแปลงได้
Value แสดงตำแหน่งเก็บค่าใน Work Sheet สามารถเปลี่ยนแปลงได้
Category(x) axis label แสดงตำแหน่งชื่อในแกน X
- คลิกปุ่ม Next > เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 Chart Options
ในส่วนที่ 3 นี้จะมีหลายเมนูย่อยซึ่งผู้ใช้สามารถกำหนดรายละเอียดให้กับกราฟได้ดังนี้
เมนูย่อย Titles เกี่ยวกับการกำหนดชื่อกราฟ ชื่อแกนของกราฟ ประกอบด้วย
· Chart Title: ใส่ชื่อกราฟ หรือข้อความอธิบายกราฟ
· Category (X) axis: ใส่ข้อความอธิบายแกน X
· Category (Y) axis: ใส่ข้อความอธิบายแกน Y
เมนูย่อย Axes เกี่ยวกับการกำหนด แกนหลัก Primary axis ประกอบด้วย
· Category (X) axis: กำหนดให้มีการแสดงหรือไม่แสดงค่าในแกน X ตามรูปแบบ Automatic; Category หรือ Time-scale
· Value (Y) axis: กำหนดให้มีการแสดงหรือไม่แสดงค่าในแกน Y
เมนูย่อย Gridlines เกี่ยวกับการกำหนดเส้นตัดแกนเพื่อให้อ่านกราฟได้สะดวกประกอบด้วย
· Category (X) axis: แสดงเส้นตัดแกน X ทั้งเส้นตัดแกนหลัก (Major gridlines) หรือเส้นตัดแกนรอง (Minor gridlines)
· Category (Y) axis: แสดงเส้นตัดแกน Y ทั้งเส้นตัดแกนหลัก (Major gridlines) หรือเส้นตัดแกนรอง (Minor gridlines)
เมนูย่อย Legend เกี่ยวกับการแสดงคำอธิบายกราฟแต่ละจุดหรือแต่ละค่า ประกอบด้วย
· Show legend กำหนดให้แสดงหรือไม่แสดงคำอธิบาย
· Placement: กำหนดการจัดวางตำแหน่งของคำอธิบาย ด้านล่างกราฟ (Bottom), ด้านมุมกราฟ (Corner), ด้านบนกราฟ (Top) ด้านขวากราฟ (Right) และ ด้านซ้ายกราฟ (Left)
เมนูย่อย Data Labels เกี่ยวกับการกำหนดให้แสดงข้อมูลบนกราฟหรือไม่ ประกอบด้วย
· Series Name กำหนดแสดงชื่อกลุ่มชุดข้อมูลบนกราฟ
· Category name กำหนดให้แสดงข้อความในแกน X บนกราฟ
· value กำหนดให้แสดงค่าในแกน Y บนกราฟ
เมนูย่อย Data Table เกี่ยวกับการแสดงตารางข้อมูลต่อท้ายกราฟ ประกอบด้วย
· Show data table กำหนดให้แสดงตารางข้อมูลต่อท้ายกราฟ
· Show legend keys กำหนดให้แสดงสีของ legend ที่ชื่อในตารางข้อมูล
- คลิกปุ่ม Next > เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนที่ 4 Chart Location
ในขั้นตอนที่ 4 เป็นการระบุเพื่อให้กราฟที่ถูกสร้างขึ้นนำไปวางไว้ในบริเวณที่ต้องการมีตัวเลือกเพื่อให้คลิกเลือกในส่วน Place Chart ดังนี้
· As new sheet: กราฟที่สร้างได้จะนำไปว่างใน work Sheet แผ่นใหม่ ตามที่กำหนด
· As Object in: กราฟที่สร้างได้สามารถกำหนดให้เป็นวัตถุ(เหมือนรูปภาพ) เลือกให้นำไปวางใน Work Sheet ที่ต้องการได้
- ผู้ใช้สามารถ คลิกปุ่ม
c. การแก้ไขกราฟ เมื่อสร้างเสร็จแล้ว
เมื่อสร้างกราฟได้แล้ว หากต้องการแก้ไข ปรับแต่งกราฟ ย่อ/ขยาย ขนาดของกราฟได้เหมือนกับการย่อ/ ขยายขนาดของรูปภาพหรือ วัตถุ (object) ได้ ดังนี้
1. คลิกที่พื้นที่ของกราฟที่ต้องการแก้ไข จะเห็นว่ามีกรอบและสี่เหลี่ยมเล็กๆ ล้อมรอบกราฟ
2. คลิกปุ่มขวาของเมาส์ ที่พื้นที่ของกราฟ เพื่อเลือกแก้ไข ดังรูป จะมีตัวเลือกดังนี้
o Format Chart แต่งสีพื้น ใส่กรอบ ใส่รูปภาพพื้นหลังให้กราฟได้
o Chart type (ขั้นตอนที่ 1) ปรับเปลี่ยนประเภทของกราฟ
o Source Data (ขั้นตอนที่ 2) ปรับเปลี่ยนแหล่งข้อมูล
o Chart Option (ขั้นตอนที่ 3) ปรับเปลี่ยนรายละเอียดคำอธิบายกราฟต่างๆ
o Location (ขั้นตอนที่ 4) ปรับเปลี่ยนบริเวณที่วางกราฟ
7.เทคนิคการจัดเรียงข้อมูล
การเตรียมตารางข้อมูล.......................ตารางข้อมูลที่ใช้ มีลักษณะดังนี้
ขั้นตอนการเรียงข้อมูล...........1. คลุมทึบ ข้อมูล ในเซลล์ ตั้งแต่เลขที่ 1 - 10 , เลขที่ประจำตัว , ชื่อ - สกุล และคะแนนที่ได้ ...........2. คลิกเมาส์ ที่เมนู ข้อมูล > เรียงลำดับ ...........3. จะปรากฎกรอบ เรียง .......ให้เลือกเรียง คะแนนที่ได้ ในช่อง จัดเรียงตาม และระบุ จากมากไปหาน้อย......................จากนั้น คลิก ตกลง
ข้อสอบเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ก. Time machine จนโดราเอมอน สามารถใช้เดินทางมาหาโนบิตะได้
ข. Personal Computer เครื่องที่สามของโลกที่สามารถทำงานทาง graphic
ค. เครื่องคำนวณที่เรียกว่า เครื่องหาผลต่าง (Difference Engine)
ง. Slot Machine หรือที่รู้จักกันในนามปีศาจแขนเดียว
2. เบลส์ ปาสคาล(Blaise Pascal) เป็นนักปรัชญา และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องบวกเลขแบบใด
ก. ที่เราใช้กันทุกวันนี้
ข. เครื่องที่ใช้ในห้างสรรพสินค้า
ค. ลูกคิด
ง. เครื่องที่สร้างจากฟันเฟือง 8 ตัว
3. เอดา ออกุสตา ไบรอน ธิดาคนเดียวของ ลอร์ดไบรอน เอดา ได้รับสมญาอะไรจนมีชื่อเสียง
ก. Miss internet คนแรกของโลก
ข. นักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก
ค. ผู้ตั้งบริษัทร่วมกับ bill gate แต่เสียชีวิตไปก่อน
ง. Hacker คนที่สอง ต่อจาก Neo ใน Matrix
4.คอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกในโลก คือเครื่องใด ที่ถูกสร้างในปี ค.ศ.1949
ก. Dr.John Von Neumann สร้างเครื่อง EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer)
ข. มหาวิทยาลัย เคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ สร้าง EDSAC (Electro Delayed Storage Automatic Computer)
ค. IBM สร้าง PC (Personal Computer) หรือ Microcomputer
ง. ถือได้ว่าทั้ง EDVAC และ EDSAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกทั้งคู่ได้
5.ปี ค.ศ.1965 เริ่มมีการใช้ ไอซี (Integrated Circuits) แทนทรานซิสเตอร์ เพราะอะไร
ก. ขาดแร่ยูเรเนียม
ข. แร่ยูเรเนียมมีราคาแพง
ค. ทำให้คอมพิวเตอร์เล็กลง
ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
6. คอมพิวเตอร์เครื่องแรกเข้ามาในประเทศไทยปีใด และที่มหาวิทยาลัยใด
ก. เดือนสิงหาคม พ.ศ.2506 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข. เดือนสิงหาคม พ.ศ.2506 ที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
ค. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2501 เดือนใดไม่ปรากฏ
ง. วิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง ปี พ.ศ. 2520 เดือนมิถุนายน
7. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของคอมพิวเตอร์คืออะไร
ก. ความเร็วสูง(High speed)
ข. มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ค. รับคำสั่งจากมนุษย์
ง. สามารถจดจำได้แม่น(Retention)
8. ข้อมูล(Data) เมื่อนำไปผ่านการประมวลผล(Process) แล้วเรียกว่าอะไร
ก. Computer
ข. Information
ค. Paper
ง. Garbage
9. การจัดข้อมูลตามโครงสร้างข้อมูล ข้อใดไม่ได้ถูกจัดในโครงสร้างข้อมูล
ก. หน่วยข้อมูล(Data Item)
ข. เขตข้อมูล (Data Field)
ค. ขยะข้อมูล(Data Garbage)
ง. แฟ้มข้อมูล (Data File)
10. ในเรื่องของโครงสร้างข้อมูล ตัวเลือกใด ถือว่าเล็กที่สุด
ก. หน่วยข้อมูล(Data Item)
ข. เขตข้อมูล (Data Field)
ค. ระเบียนข้อมูล (Data record)
ง. แฟ้มข้อมูล (Data File)
11.ในเรื่องของโครงสร้างข้อมูล ตัวเลือกใด ถือว่าใหญ่ที่สุด
ก. หน่วยข้อมูล(Data Item)
ข. เขตข้อมูล (Data Field)
ค. ระเบียนข้อมูล (Data record)
ง. แฟ้มข้อมูล (Data File)
12.ถ้าเปรียบเทียบโครงสร้างข้อมูลกับ EXCEL จำนวนข้อมูลในแนวนอน(Row) ของ EXCEL ถือเป็นจำนวนของอะไรในโครงสร้างข้อมูล
ก. หน่วยข้อมูล(Data Item)
ข. เขตข้อมูล (Data Field)
ค. ระเบียนข้อมูล (Data record)
ง. แฟ้มข้อมูล (Data File)
13. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงคอมพิวเตอร์แบบ Analog
ก. มีหน้าที่คำนวณทางระบบบัญชี
ข. เห็นตัวอย่างได้จาก TV GAME
ค. เครื่องวัดอุณหภูมิหรือความดันโลหิต
ง. Main frame computer
14. ข้อใดไม่ได้กล่าวถึงคอมพิวเตอร์แบบ Digital
ก. เห็นตัวอย่างได้จาก TV GAME
ข. เครื่องวัดอุณหภูมิหรือความดันโลหิต
ค. Main frame computer
ง. มีหน้าที่คำนวณทางระบบบัญชี
15. คอมพิวเตอร์ที่ใช้วัดคลื่นสมอง มักใช้คอมพิวเตอร์แบบใด
ก. Digital computer
ข. Analog computer
ค. Artificial Intelligence Computer
ง. Windows NT Computer
16.ปัจจุบันคอมพิวเตอร์แบบใดมีขนาดเล็กที่สุด ในตัวเลือกที่มีให้
ก. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe computer)
ข. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์(NoteBook Computer)
ค. ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)
ง. มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer)
17. ปัจจุบันคอมพิวเตอร์แบบใดมีขนาดใหญ่ที่สุด ในตัวเลือกที่มีให้
ก. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe computer)
ข. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์(NoteBook Computer)
ค. ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)
ง. มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer)
18. ปัจจุบันคอมพิวเตอร์แบบใดนิยมใช้ในสำนักงานมากที่สุด ในตัวเลือกที่มีให้
ก. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe computer)
ข. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์(NoteBook Computer)
ค. ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)
ง. มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer)
19. ปัจจุบันคอมพิวเตอร์แบบใดนิยมใช้ตามบ้านมากที่สุด ในตัวเลือกที่มีให้
ก. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe computer)
ข. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์(NoteBook Computer)
ค. ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)
ง. มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer)
20. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มี 5 ส่วน ส่วนใดในตัวเลือก ไม่ใช่ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ก. หน่วยรับ(Input unit)
ข. หน่วยความจำ(Memory unit)
ค. หน่วยคำนวณ และตรรก(Arithmetic and logic unit หรือ ALU)
ง. หน่วยบำรุงรักษา(Maintenance unit)
21. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มี 5 ส่วน ส่วนใดในตัวเลือก ไม่ใช่ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ก. หน่วยรับ(Input unit)
ข. หน่วยความจำ(Memory unit)
ค. หน่วยวางแผน (Plan unit)
ง. หน่วยควบคุม (Control unit)
22. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มี 5 ส่วน ส่วนใดในตัวเลือก ไม่ใช่ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ก. หน่วยแสดงผลลัพธ์(Output unit)
ข. หน่วยความจำ(Memory unit)
ค. หน่วยข่าวสาร (Information unit)
ง. หน่วยควบคุม (Control unit)
23.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มี 5 ส่วน ส่วนใดในตัวเลือก ไม่ใช่ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ก. หน่วยแสดงผลลัพธ์(Output unit)
ข. หน่วยวิจัย (Research unit)
ค. หน่วยความจำ(Memory unit)
ง. หน่วยควบคุม (Control unit)
24. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยแสดงผลลัพธ์(Output unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. Diskette
ข. Memory
ค. Mouse
ง. Printer
25.อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยแสดงผลลัพธ์(Output unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. Harddisk
ข. Monitor
ค. Scanner
ง. OCR (Optical Character Reader)
26. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยแสดงผลลัพธ์(Output unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. Hard drive
ข. OMR(Optical Mark Reader)
ค. Card Reader
ง. Microfilm
27. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยรับ(Input unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. RAM
ข. ROM
ค. Scanner
ง. Monitor
28. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยรับ(Input unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. Harddisk
ข. Mouse
ค. Motocycle
ง. Memory
29. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็นหน่วยรับ(Input unit) ของคอมพิวเตอร์
ก. Voice recognition device
ข. Printer
ค. CPU
ง. Diskette
30. อะไรที่ไม่เป็น ฮาร์ดแวร์(Hardware) ทางคอมพิวเตอร์
ก. Printer
ข. Microsoft Windows
ค. Monitor
ง. Mouse
31. อะไรที่ไม่เป็น ฮาร์ดแวร์(Hardware) ทางคอมพิวเตอร์
ก. CD-ROM
ข. RAM
ค. Accounting program
ง. Harddisk
32. อะไรที่ไม่เป็น ฮาร์ดแวร์(Hardware) ทางคอมพิวเตอร์
ก. Hacker
ข. Diskette
ค. Harddisk
ง. Printer
33. ระบบปฏิบัติการใดฟรีที่สุด
ก. Microsoft Windows
ข. Microsoft DOS
ค. LINUXง. MAC
34.ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU - Central Processing Unit)
ก. หน่วยความจำหลัก(Main memory)
ข. หน่วยคำนวณ และตรรก(Arithmetic and Logic Unit - ALU)
ค. หน่วยรับ(Input unit)
ง. หน่วยควบคุม (Control unit)
35. การเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ โดยแท้จริงแล้วเก็บในเลขฐานใด
ก. เก็บแบบ Analog
ข. ฐาน 2
ค. ฐาน 16
ง. ฐาน 10
36.โปรแกรม Photoshop ถือเป็นโปรแกรมประเภทใด
ก. ซอฟท์แวร์จัดระบบฐานข้อมูล (Database management software)
ข. ซอฟท์แวร์จัดพิมพ์เอกสาร (Word processing software)
ค. ซอฟท์แวร์ทำการคำนวณ (Calculation software)
ง. ซอฟท์แวร์ทางกราฟฟิคส์(Graphic software)
37. โปรแกรม Microsoft word ถือเป็นโปรแกรมประเภทใด
ก. ซอฟท์แวร์จัดระบบฐานข้อมูล (Database management software)
ข. ซอฟท์แวร์จัดพิมพ์เอกสาร (Word processing software)
ค. ซอฟท์แวร์ทำการคำนวณ (Calculation software)
ง. ซอฟท์แวร์ทางกราฟฟิคส์(Graphic software)
38.โปรแกรม Microsoft Paint ถือเป็นโปรแกรมประเภทใด
ก. ซอฟท์แวร์จัดระบบฐานข้อมูล (Database management software)
ข. ซอฟท์แวร์จัดพิมพ์เอกสาร (Word processing software)
ค. ซอฟท์แวร์ทำการคำนวณ (Calculation software)
ง. ซอฟท์แวร์ทางกราฟฟิคส์(Graphic software)
39. UPS (Uninterruptible power supply) คืออะไร
ก. เครื่องสำรองไฟฟ้า
ข. เครื่องตรวจสอบไวรัสอัตโนมัติ
ค. อุปกรณ์ป้องกันการกระชากของกระแสไฟฟ้า
ง. เครื่องปรับอุณหภูมิให้สม่ำเสมอ
40.HTML ย่อมาจากอะไร
ก. Heading Transfer Markup Language
ข. Hyper Text Markup Language
ค. Hyper Transfer Markup Language
ง. Hyper Transfer Making Language
เฉลย
1.ค 2.ง 3.ข 4.ง 5.ค 6.ก 7.ค 8.ข 9.ค 10.ก 11.ง 12.ค 13.ค 14.ข 15.ข 16.ข 17.ก 18.ค 19.ค 20.ง 21.ค 22.ค 23.ข 24.ง 25.ข 26.ง 27.ค 28.ข 29.ก 30.ข 31.ค 32.ก 33.ค 34.ค 35.ข 36.ง 37.ก 38.ง 39.ก 40. ข
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ประวัติgoolgle
โดยปกติทุกๆปีในช่วงก่อนเปิดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิดบ้านต้อนรับผู้มาเยือน เราเรียกว่า Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบ้างแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรียนในมหาวิทยาลัยไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นั่น ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนำสถานที่ แนะนำคณะ แนะนำ Lab แนะนำครูอาจารย์ เป็นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือคุณ Larry Page (ลาร์รี่ เพจ) ก็โผล่มาในงาน Open House ในปีนี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มาหยกๆ
ทั้งสองเจอกันเพราะ Larry Page ไปอยู่ในกลุ่มทัวร์ ที่มี Sergey Brin เป็นหัวหน้ากลุ่มทัวร์พอดี ระหว่างทางที่เดินทัวร์มหาวิทยาลัย และเมือง San Francisco อยู่ ทั้งสองคนนี้ก็มีเรื่องให้ถกเถียงกันได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องของการจัดผังเมืองของ San Francisco Page เล่าให้ฟังว่าตอนนั้นเค้าจำได้ว่า Sergey Brin เป็นคนที่มีความคิดที่ค่อนข้างจะติดยึด เป็นคนที่ไม่ค่อยโสภาที่น่าจะอยู่ใกล้เท่าไหร่ ถ้าคิดว่าตัวเองถูกละก็จะเีถียงหัวชนฝา ซึ่งบังเอิญว่า ตัวเอง(Page) ก็เป็นคนแบบนั้น ส่วน Sergey ก็บอกว่าจริงๆแล้ว Larry ก็ออกจะแปลกๆอยู่เหมือนกันแหละ เถียงหัวชนฝา ไม่ค่อยยอมใคร (เอากันเข้าไป มิน่าหล่ะ เถียงกันได้ทั้งวัน)เอาเป็นว่า ทั้งคู่ถกเถียงกันเรื่องต่างๆทั้งวันที่เดินทัวร์ แม้จะไม่ลงรอยด้วยดี แต่ทั้งคู่ก็จำกันได้ดีก่อนจะแยกจากกันในตอนเย็น (แหม! พล็อตยังกับหนังไทยเลยครับ พระเอกกับนางเอกเจอกันครั้งแรกจะต้องทะเลาะตบตี ต่างคนต่างบอกว่าเกลียด แต่ในใจคิดถึงอยู่) อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd ผู้เชี่ยวชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และก็เริ่มมองหาหัวข้อวิทยานิพนธ์ พ่อของ Larry Page (ขณะนั้นเป็นอาจารย์ด้าน Computer Science อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน) บอกว่า Thesiปริญญาเอก จะเป็นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกำหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต ก่อนจะตัดสินใจเลือกทำให้ไตร่ตรองให้ดี ทำให้ Page ใช้เวลาอยู่นานในการเลือกหัวข้อทำวิทยานิพนธ์ หลังจากลองนึกๆดูสิบกว่าเรื่อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่อง World Wide Web นี่เอง และแล้วจุดเริ่มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็นไอเดียที่เปลี่ยนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกำเนิดของยักษ์ใหญ่ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่มขึ้นที่นี่
คำถาม
1).ผู้ก่อตั้งgoolgleคือใคร
ก.Sergoy Brin and Larre page
ข).Jonh michal
ค).Bille bell
ง).tommy
2)goolgle เวอร์ชั่นแรกที่ถูกเผยแพร่สู่สาธารณะชนเป็นเว็บของใคร
ก)มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
ข)บริษัทน้ำมันของสหรัสอเมริกา
ค)ห้องสมุดของเมืองนิวยอก
ง)บริษัทIBM
3)สำนักงานใหญ่ของgoolgleอยู่ที่ใด
ก)รัฐแคริฟอเนีย
ข)ลอนดอน
ค)ปารีส
ง)กรุงเทพมหานคร
4)goolgleแบ่งฐานข้อมูลออกเป็นกี่หมวด
ก) 4 หมวด
ข) 5หมวด
ค) 7หมวด
ง) 8หมวด
5)goolgleใช้ทำงานอะไร
ก)ใช้สร้างโปรแกรม
ข)ใช้พิมพ์เอกสาร
ค)ใช้ค้นหาข้อมูล
ง)ใช้เก็บข้อมูล
เฉลย
1)ก
2)ก
3)ก
4)ก
5)ค
วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551
การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด่ า ส ว
กั้นหน้า 2 นิ้วและหลัง 1 นิ้ว ฝึกพิมพ์อักษรแป้นเหย้าประจำนิ้วตามแผนผัง เรียงตามลำดับจากนิ้วก้อยซ้ายไปนิ้วก้อยขวาฝึกพิมพ์จนคล่อง สามารถจำได้แม่นยำอย่างน้อย 1 หน้า จงจำไว้ว่า สายตาต้องมองอยู่ในแบบฝึกหัดเท่านั้น อย่าหันกลับไปมองที่แป้นอักษรในกระดาษที่เครื่องพิมพ์เด็ดขาด อ่านคำสั่งก่อนพิมพ์ทุกครั้งปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
บทที่ 2
การพิมพ์อักษรแป้น เ ง้
การก้าวนิ้ว ตามปกตินิ้วจะต้องวางอยู่ที่แป้นเหย้าประจำ แต่เมื่อต้องการพิมพ์แป้นอักษรอื่น ที่ไม่ใช่แป้นเหย้าให้ก้าวนิ้วไปที่ละนิ้ว เมื่อพิมพ์เสร็จแต่ละนิวให้ดึงนิ้วกลับแป้นเหย้าประจำนิ้วทันที
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ
แป้น ไม้โท ก้าวนิ้วชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดที่แป้น ไม้โท
แป้น ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น ง
บทที่ 3
การพิมพ์อักษรแป้น พ ะ อี อะ อำ ร
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่นเหย้า
แป้น พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปดีดที่แป้น พ
แป้น ะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปดีดที่แป้น ะ
แป้น อี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปดีดที่แป้น อี
แป้น อำ ก้าวน้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อำ
แป้น ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร
บทที่ 4
การพิมพ์อักษรแป้น อ อิ ท อือ แ ม
การก้าวนิ้ววางนิ้วทั้งหมดไวที่แป้นเหย้า
แป้น อ ก้าวนิ้ว ชื้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ
แป้น อิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อิ
แป้น ท ก้าวนิ้ว ขวาลง มาดีดที่แป้น ท
แป้น อือ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น อือ
แป้น แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ
แป้น ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม
บทที่ 5
การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
การกางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ
แป้น ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ป
แป้น น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น
แป้น ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ
แป้น ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่เเป้น ๆ
แป้น ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผ
แป้น ย ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ย
บทที่ 6
การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ -
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ
แป้น ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล
แป้น ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงมาดีดที่แป้น ฝ
แป้น - ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น -
บทที่ 7
การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
แป้น ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
แป้น ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
แป้น ต ก้าวนิ้ว กลางชวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
แป้น อือ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อือ
แป้น อุ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อุ
บทที่ 8
การพิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - /
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น จ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น จ
แป้น ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข
แป้น ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช
แป้น - ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น -
แป้น / ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /
บทที่ 9
การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ ๘ + ฑ ธ ๗ ณ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น โ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ซ้าย ดีดแป้น โ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฌ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาแป้น ฌ แป้นเดียวกับ เ
แป้น ๘ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ใช้นิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดแป้น ๘แป้นเดียวกับ ไม้โท
แป้น+ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ขวา ดีดแป้น +แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฑ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฑ แป้นเดียวกับ พ
แป้น ธ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ธ แป้นเดียวกับสระ
แป้น ๗ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น ๗ แป้นเดียวกับ สระอี
แป้น ณ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ณ แป้นเดียว
บทที่ 10
การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ฆ " ศ ฯ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฎ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฎ แป้นเดียวกันกับสระ อำ
แป้น ฏ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางซ้าย ดีดแป้น ฏ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ษ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางขวา ดีดแป้น ษ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฆ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางซ้าย ดีดแป้น ฆ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น " ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น " แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ศ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางขวา ดีดแป้น ศ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฯ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฯ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
บทที่ 11
การพิมพ์อักษรแป้น ฮ ฉ ฒ อู อั้ การรันต์ ?
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฮ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี่ซ้าย ลงมาดีดแป้น ฮ แป้นเดียวกับ อ
แป้น ฉ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วกลางซ้าย ลงมาดีดแป้น ฉ แป้นเดียวกับแป้นกับ แ
แป้น ฒ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วกลางขวา ลงมาดีดแป้น ฒ แป้นเดียวกับ ม
แป้น อู ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ซ้าย ขึ้นไปดีด อู แป้นเดียวกับ อุ
แป้น อั้ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น อั้ แป้นเดียวกับแป้น อี
แป้น การันต์ ใช้นิ้วก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ลงมาดีดแป้น การันต์ แป้นเดียวกับ อื
แป้น ? ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ลงมาดีดแป้น ? แป้นเดียวกับ ท
บทที่ 12
การพิมพ์อักษรแป้น ฤ ( ) ฬ ซ ญ ฦ ฐ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฤ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยซ้าย ดีดแป้น ฤ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ( ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วซ้าย ลงมาดีดแป้น ( แป้นเดียวกับ ผ
แป้น ) ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วนางซ้าย ลงมาดีดแป้น ) แป้นเดียวกับ ป
แป้น ฬ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วนางขวา ลงมาดีดแป้น ฬ แป้นเดียวกับ ใ
แป้น ซ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยขวา ดีดแป้น ซ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ญ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น ญ แป้นเดียวกับ ย
แป้น ฦ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ลงมาดีดแป้น ฦ แป้นเดียวกับ ฝ
แป้น ฐ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฐ แป้นเดียวกับ บ
บทที่ 13
การพิมพ์อักษรแป้น 3 4 5 6 อํ อฺ .
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 3 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีด 3 แป้นเดียวกับ ภ
แป้น 4 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 4 แป้นเดียวกับ ถ
แป้น 5 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น 5 แป้นเดียวกับ ค
แป้น 6 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 6 แป้นเดียวกับ อุ
แป้น อํ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวาขึ้น ไปดีดแป้น อํ แป้นเดียวกับ อั
แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวาไปทางขวาดีดแป้น อฺ แป้นเดียวกับ ง
แป้น อฺ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดแป้น อฺ แป้นเดียวกับ อิ
บทที่ 14
การพิมพ์อักษรแป้น 0 1 2 7 8 9 , %
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 0 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 0 แป้นเดียวกับ ๆ
แป้น 1 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 1 แป้นเดียวกับ /
แป้น 2 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 2 แป้นเดียวกับ -
แป้น 7 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 7 แป้นเดียวกับ จ
แป้น 8 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 8 แป้นเดียวกับ ข
แป้น 9 ใช้นื้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีด 9 แป้นเดียวกับ ช
แป้น , ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น , แป้นเดียวกับ ล
แป้น % ใช้นิ้วก้อยซ้ายยกแคร่ก้าวนิ้วก้อยขวาไปทางขวาดีดแป้น % แป้นเดียวกับ -
การฝึกพิมพ์สัมผัสโดยนายกฤษณ สุขจันทร์
การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด่ า ส ว
บทที่ 2
การพิมพ์อักษรแป้น เ ง้
การก้าวนิ้ว ตามปกตินิ้วจะต้องวางอยู่ที่แป้นเหย้าประจำ แต่เมื่อต้องการพิมพ์แป้นอักษรอื่น ที่ไม่ใช่แป้นเหย้าให้ก้าวนิ้วไปที่ละนิ้ว เมื่อพิมพ์เสร็จแต่ละนิวให้ดึงนิ้ว กลับแป้นเหย้าประจำนิ้วทันที การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ
แป้น ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น ง
บทที่ 3
การพิมพ์อักษรแป้น พ ะ อี อะ อำ ร
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่นเหย้า
แป้น พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปดีดที่แป้น พ
แป้น ะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปดีดที่แป้น ะ
แป้น อี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปดีดที่แป้น อี
แป้น อำ ก้าวน้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อำ
แป้น ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร
บทที่ 4
การพิมพ์อักษรแป้น อ อิ ท อือ แ ม
การก้าวนิ้ววางนิ้วทั้งหมดไวที่แป้นเหย้า
แป้น อ ก้าวนิ้ว ชื้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ
แป้น อิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อิ
แป้น ท ก้าวนิ้ว ขวาลง มาดีดที่แป้น ท
แป้น อือ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น อือ
แป้น แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ
แป้น ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม
บทที่ 5
การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
การกางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ
แป้น ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ป
แป้น น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น
แป้น ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ
แป้น ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่เเป้น ๆ
แป้น ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผ
แป้น ย ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ย
บทที่ 6
การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ -
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ
แป้น ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล
แป้น ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงมาดีดที่แป้น ฝ
แป้น - ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น -
บทที่ 7
การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
แป้น ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
แป้น ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
แป้น ต ก้าวนิ้ว กลางชวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
แป้น อือ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อือ
แป้น อุ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อุ
บทที่ 8
การพิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - /
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น จ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น จ
แป้น ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข
แป้น ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช
แป้น - ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น -
แป้น / ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /
บทที่ 9
การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ ๘ + ฑ ธ ๗ ณ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น โ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ซ้าย ดีดแป้น โ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฌ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาแป้น ฌ แป้นเดียวกับ เ
แป้น ๘ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ใช้นิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดแป้น ๘แป้นเดียวกับ ไม้โท
แป้น+ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ขวา ดีดแป้น +แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฑ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฑ แป้นเดียวกับ พ
แป้น ธ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ธ แป้นเดียวกับสระ
แป้น ๗ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น ๗ แป้นเดียวกับ สระอี
แป้น ณ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ณ แป้นเดียว
บทที่ 10
การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ฆ " ศ ฯ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฎ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฎ แป้นเดียวกันกับสระ อำ
แป้น ฏ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางซ้าย ดีดแป้น ฏ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ษ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางขวา ดีดแป้น ษ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฆ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางซ้าย ดีดแป้น ฆ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น " ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น " แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ศ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางขวา ดีดแป้น ศ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฯ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฯ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
บทที่ 11
การพิมพ์อักษรแป้น ฮ ฉ ฒ อู อั้ การรันต์ ?
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฮ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี่ซ้าย ลงมาดีดแป้น ฮ แป้นเดียวกับ อ
แป้น ฉ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วกลางซ้าย ลงมาดีดแป้น ฉ แป้นเดียวกับแป้นกับ แ
แป้น ฒ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วกลางขวา ลงมาดีดแป้น ฒ แป้นเดียวกับ ม
แป้น อู ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ซ้าย ขึ้นไปดีด อู แป้นเดียวกับ อุ
แป้น อั้ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น อั้ แป้นเดียวกับแป้น อี
แป้น การันต์ ใช้นิ้วก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ลงมาดีดแป้น การันต์ แป้นเดียวกับ อื
แป้น ? ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วชี้ขวา ลงมาดีดแป้น ? แป้นเดียวกับ ท
บทที่ 12
การพิมพ์อักษรแป้น ฤ ( ) ฬ ซ ญ ฦ ฐ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฤ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยซ้าย ดีดแป้น ฤ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ( ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วซ้าย ลงมาดีดแป้น ( แป้นเดียวกับ ผ
แป้น ) ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้วนางซ้าย ลงมาดีดแป้น ) แป้นเดียวกับ ป
แป้น ฬ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วนางขวา ลงมาดีดแป้น ฬ แป้นเดียวกับ ใ
แป้น ซ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยขวา ดีดแป้น ซ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ญ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น ญ แป้นเดียวกับ ย
แป้น ฦ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ลงมาดีดแป้น ฦ แป้นเดียวกับ ฝ
แป้น ฐ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฐ แป้นเดียวกับ บ
บทที่ 13
การพิมพ์อักษรแป้น 3 4 5 6 อํ อฺ .
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 3 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีด 3 แป้นเดียวกับ ภ
แป้น 4 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 4 แป้นเดียวกับ ถ
แป้น 5 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น 5 แป้นเดียวกับ ค
แป้น 6 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 6 แป้นเดียวกับ อุ
แป้น อํ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวาขึ้น ไปดีดแป้น อํ แป้นเดียวกับ อั
แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวาไปทางขวาดีดแป้น อฺ แป้นเดียวกับ ง
แป้น อฺ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดแป้น อฺ แป้นเดียวกับ อิ
บทที่ 14
การพิมพ์อักษรแป้น 0 1 2 7 8 9 , %
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 0 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 0 แป้นเดียวกับ ๆ
แป้น 1 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 1 แป้นเดียวกับ /
แป้น 2 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 2 แป้นเดียวกับ -
แป้น 7 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 7 แป้นเดียวกับ จ
แป้น 8 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 8 แป้นเดียวกับ ข
แป้น 9 ใช้นื้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีด 9 แป้นเดียวกับ ช
แป้น , ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น , แป้นเดียวกับ ล
แป้น % ใช้นิ้วก้อยซ้ายยกแคร่ก้าวนิ้วก้อยขวาไปทางขวาดีดแป้น % แป้นเดียวกับ -
วันอังคารที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ข้อสอบ
ก.Charler Bubbage
ข.bobby charton
ค.micle owen
ง.August Ada
2).คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่าอะไร
ก).เอ็มไอที
ข).มาร์กวัน
ค).ไอบีเอ็ม
ง).แอลจี
3).บริษัทคอมพิวเตอร์แห่งแรกคือบริษัทใด
ก).aser
ข).IBM
ค).samsung
ง).LG
4).ยุคของคอมพิวเตอร์ยุคใดที่คอมพิวเตอร์สามารถนำมาตั้งบนโตะได้
ก).ยุคที่ 2
ข).ยุคที่ 3
ค).ยุคที่ 4
ง).ยุคที่ 5
5).การแบ่งลักษณะของคอมพิวเตอร์แบบสมรรถนะอย่างใดที่มีสมรรถนะมากที่สุด
ก).ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
ข).ไมโครคอมพิวเตอร์
ค).มินิคอมพิวเตอร์
ง).เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
เฉลย
1ก
2ข
3ข
4ค
5ก